บทความ

สมาชิกการจัดการ60 ห้องA

 อาจารย์ธภัทร ชัยชูโชค   อาจารย์ปาล์ม 001 นางสาวกรรภิรมณ์ ติระพัฒน์     น้องเอิง 002 นายก้องเกียรติ ศิลป์ภูศักดิ์       บ่าวอัด 003 นายเกียรติศักดิ์ ดำด้วง             บ่าวเอ็ม 004 นายจีรุฒม์ ศรีราม                     บ่าวบิ๊ก 005 นายชนัตถ์ จันทร์วงค์                 บ่าวนัท 006 007 นายสาวฐานิญา ซังเอียด           น้องพะเเพง 008 010 นายตะวัน เเซ่ซำ                       บ่าวการ์ด 011 นายธนพงษ์ ไชยนุรักษ์             บ่าวบูม 012 นายธวัช บัวเเก่น                       บ่าวบอล 013 นางสาวธิดารัตน์ เรืองเหมือน     น้องเเพร 014 015 นายนันทวุฒิ ช่วยมณี                 หลวงบ่าว 016 นายนิติกรณ์ ยอดสุวรรณ์           บ่าวน๊อต 017 018 นายประพัฒน์พังษ์ ทองเอม       บ่าวนุ๊ก 019 นายปิยวิทย์ สังข์เศรษฐ์             บ่าววิทย์ 021 นางสาวเพชรลดา สุวรรณเดชา น้องฝน 022 023 นายภาคภูมิ ใจสมุทร                 บ่าวภูมิ 024 นายมูฮัยมีน ยะเลซู                   บ่าวมิง 025 นายยูโซฟ ใบตาเย๊ะ                   บ่าวนัน 026 นายรุซดีย์ ยะลิน                         บ่าวดี 027 นางสาวลัดด

หุ่นยนต์อุตสาหกรรม

รูปภาพ
หุ่นยนต์ในโรงงานอุตสาหกรรม ในยุคเริ่ม ต้นของการส่งเสริมอุตสาหกรรมในประเทศไทยจะเห็นได้ว่ามีโรงงานต่าง ๆ เข้ามาตั้งฐานผลิตในเมืองไทยจำนวนมากทำให้เกิดนิคมอุตสาหกรรมขึ้นหลายแห่ง ทั้งนี้เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ชัดเจน ค่าแรงงานถูก ลดรายจ่ายเนื่องจากภาษีการนำเข้าของสินค้า และวัตถุดิบบางตัว แต่ ณ ปัจจุบันนี้ค่าแรงบ้านเราสูงขึ้นและสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน เช่น จีน เวียดนาม อินโดนีเซีย ฯลฯ ในขณะเดียวกันคุณภาพแรงงานไม่ได้มาตรฐาน ขาดความรู้และทักษะจึงทำให้หลายบริษัทได้ย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศที่มีค่า แรงงานถูกกว่า และอีกหลายบริษัทที่พยายามปรับตัวเอง หุ่นยนต์เก็บกู้ระเบิด สกว.- ทีมวิจัยม.เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือโดยการสนับสนุนของ สกว. ส่งมอบชุดอุปกรณ์-เครื่องมือเก็บกู้ทำลายระเบิดแสวงเครื่องของหุ่นต์อีโอดี ให้เจ้ากรมสรรพาวุธทหารบก หลังใช้เวลา 3 ปีออกแบบและพัฒนาให้ตรงโจทย์ของผู้ใช้ หวังลดการนำเข้าหุ่นยนต์ราคาแพงจากต่างประเทศ ศ.นพ.สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ ผู้อำนวยการสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) กล่าวปิดโครงการและส่งมอบผลงานการวิจัยพัฒนาชุดอ

ระบบขนถ่ายอัตโนมัติ

รูปภาพ
ระบบสายพานลำเลียง  ระบบสายพานลำเลียง  คือ อุปกรณ์ลำเลียง ( Conveyor )  ที่ใช้สายพาน ( Belt)  เป็นตัวนำพาวัสดุ ระบบสายพานลำเลียงทำหน้าที่เคลื่อนย้ายวัสดุจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง    หลังจากวัสดุหรือชิ้นงานผ่านกระบวนการตามขั้นตอนมา เมื่อมาถึงการขนย้ายหรือลำเลียงก็จะใช้ระบบสายพานลำเลียง ( Belt Conveyor System)  ในการเคลื่อนย้ายวัสดุหรือชิ้นงาน   2. ระบบสายพานลำเลียง Canvas Belt Conveyor System (แบบผ้าใบ) ระบบสายพานลำเลียง Canvas Belt Conveyor System (แบบผ้าใบ) สำหรับลำเลียงชิ้นงานหรือวัสดุ  ระบบสายพานลำเลียง แบบผ้าใบ สามารถทนความร้อนได้และมีความยืดหยุ่นค่อนข้างน้อยเมื่อรับแรงดึง  ลักษณะการทำงานของระบบสายพานลำเลียง แบบผ้าใบจะลำเลียงจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ่ง โดย สามารถขยับตัวระบบลำเลียงให้ตรงกับไลน์การผลิตได้ เหมาะสำหรับงาน ลำเลียงประเภทยาง , อาหาร เป็นต้น ระบบสายพานลำเลียง PVC Belt Conveyor System (แบบ PVC) สำหรับลำเลียงชิ้นงานหรือวัสดุที่มีน้ำ หนักเบา ระบบสายพานลำเลียงแบบ PVC สามารถทนความร้อนได้และราคาถูก ลักษณะการทำงานของ ระบบสายพานลำเลียงแบบ PVC จะลำเลียงจากจุดหนึ่งไปอีกจุดหนึ

เครื่องจักรกล Nc

รูปภาพ
ความหมายของเอ็นซี  ( NC ) N   ย่อมาจาก   Numerical  (   นิวเมอร์ริเคล  )   หมายถึง   ตัวเลข   0  ถึง   9    ตัวอักษร หรือโค้ด เช่น  A ,  B , C  ถึง  Z  และสัญลักษณ์อื่น ๆ  เช่น เครื่องหมาย  +  ,  -  และ  %     C  ย่อมาจาก  Control   ( คอนโทรล )   หมายถึง  การควบคุมโดยกำหนดค่า  หรือตำแหน่งจริงที่ต้องการเพื่อให้เครื่องจักรทำงานให้ได้ค่าตามที่กำหนด ดังนั้น     เอ็นซี   ( NC )   หมายถึง    การควบคุมเครื่องจักรกลด้วยระบบตัวเลขและตัวอักษร  ซึ่งคำจำกัดความนี้ได้จากประเทศสหรัฐอเมริกา  กล่าวคือ  การเคลื่อนที่ต่าง ๆ  ตลอดจนการทำงานอื่น ๆ  ของเครื่องจักรกล  จะถูกควบคุมโดยรหัสคำสั่งที่ประกอบด้วยตัวเลข  ตัวอักษร  และสัญลักษณ์อื่น ๆ  ซึ่งจะถูกแปลงเป็นเคลื่อนสัญญาณ (  Pulse )  ของกระแสไฟฟ้าหรือสัญญาณออกอื่น ๆ  ที่จะไปกระตุ้นมอเตอร์หรืออุปกรณ์อื่น ๆ เพื่อทำให้เครื่องจักรกลทำงานตามขั้นตอนที่ต้องการ ความหมายของ DNC Distribution Numerical Control: DNC SYSTEM   คือระบบที่มีคอมพิวเตอร์กลางในการติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนและกระจายข้อมูลซึ่งในที่นี้คือ โปรแกรม NC Data กับหน่วยควบคุม NC ของ

เทคโนโลยีการสื่อสารผ่านดาวเทียม (Satellite Communication)

รูปภาพ
การสื่อสารผ่านดาวเทียม (Satellite Communication) การสื่อสารผ่านดาวเทียมเป็นเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สายประเภทหนึ่งที่ มีวัตถุประสงค์เพื่อการสื่อสารระยะทางไกลและครอบคลุมพื้นที่กว้าง เช่น ส่งสัญญาณจากฟากหนึ่งไปยังอีกฟากหนึ่งของโลก ก่อให้เกิดการสื่อสารได้อย่างกว้างไกลไร้ขอบเขต แม้ในเขตพื้นที่ห่างไกล เช่น บริเวณหุบเขา มหาสมุทร โดยอาจเป็นสัญญาณโทรทัศน์ สัญญาณโทรศัพท์ สัญญาณภาพ เสียง และการเชื่อมต่อทางอินเทอร์เน็ตระหว่างประเทศ เป็นต้น ระบบการสื่อสารผ่านดาวเทียมประกอบไปด้วยสองส่วนหลัก คือ สถานีภาคพื้นดิน (Ground Segment) และสถานีอวกาศ (Space Segment) โดยที่สถานี ภาคพื้นดินประกอบด้วยสองสถานีคือ สถานีรับและสถานีส่ง ซึ่งการทำงานของทั้งสองสถานีนี้มีลักษณะคล้ายกัน สถานีภาคพื้นดิน  มีอุปกรณ์หลักอยู่ 4 ชนิดดังรายละเอียดต่อไปนี้ อุปกรณ์จานสายอากาศ (Antenna Subsystem) มีหน้าที่ส่งสัญญาณและรับสัญญาณจากดาวเทียม อุปกรณ์สัญญาณวิทยุ (Radio Frequency Subsystem) มีหน้าที่รับส่งสัญญาณวิทยุที่ใช้งาน อุปกรณ์แปลงสัญญาณวิทยุ (RF/IF Subsystem) ประกอบด้วยสถานีส่งสัญญาณและสถานีรับสัญญาณ โดยด้าน